วันพฤหัสบดีที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 16.

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2553

เป็นการเรียนการสอนครั้งสุดท้าย...
ของรายวิชา การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ประกอบด้วย
1.ทำการสอบเก็บคะแนนปลายภาค
2.ประเมินอาจารย์ผู้สอน

เป็นอันจบการเรียนการสอนของภาคเรียนนี้ค่ะ...

บันทึกครั้งที่15.

วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน 2553
ส่งข้อสอบเทคนิคการสอนทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เนื้อหาการเรียนการสอน : อาจารย์อธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิคทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยให้นำไปปรับปรุงแก้ไขและใส่แหล่งอ้างอิง

อาจารย์สอนเพิ่มเติมในกระบวนการทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ประกอบด้วยเรื่อง
-การส่งเสริมและฝึกให้เด็กรู้จักการสังเกต

-สร้างความชัดเจนว่าวิทยาศสาตร์เป็นของเด็กทุกคน มิใช่เพียงบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

-บอกวิธีที่ผู้ปกครองจะช่วยให้เด็กเรียนรู้วิทยาศสาตร์

-ปลูกฝังให้เด็กเห็นว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาวึ่งความสนุกสนานและน่าสนใจ

-สร้างความมั่นใจในตนเองให้แก่เด็ก

-บทบาทของครูอนุบาล ในฐานะครูวิทยาศาสตร์

-การสอนวิทยาศาสตร์ครูจะต้องเตรียมสิ่งใดบ้าง



สรุปองค์ความรูที่ได้ในวันนี้ ครูมีวิธีการประเมินการเรียนรู้ของเด็ก ครูจะต้องเป็นผู้สังเกตเด็ก ซักถามเด็ก อย่าให้เหมือนการสอบสวน เพราะจำให้เด็กรู้สึกเครียดซึ่งเป็นการวัดผลที่ไม่ดี แต่ควรจะเป็นไปในลักษณะการพูดคุย สนทนากับเด็กมากกว่าจึงจะเกิดผลสำเร็จในการประเมินการเรียนรู้

บันทึกครั้งที่ 14

วันพุธที่ 22 กันยายน 2553

สรุปเกี่ยวกับแผนผัง mind map เกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมที่กระตุ้นการเรียนรู้ทางวิทยาศสาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย จะต้องจัดเนื้อที่หรือบริเวณให้เอื้อต่อการเรียนรู้ กล่าวคือ จัดให้มีเนื้อที่บริเวณตรงกลางให้เพียงพอ ต่อการออกมาทำกิจกรรมต่างๆร่วมกัน จะช่วยให้เด็กเกิดความอยากรู้อยากเห็นและความสนใจที่จะปฏิบัติด้วย



วันจันทร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่13



วันพุธที่15 กันยายน 2553

จับกลุ่มร่วมกันระดมความคิดและนำเสนอการสรุปกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบ mind mapในหัวข้อเกี่ยวกับองค์ประกอบของหน่วยต่างๆ ได้แก่ หน่วยผลไม้,ผักและสัตว์ ซึ่งเราจะต้องคำนึงถึงความสมบูรณ์ขององค์ประกอบต่างๆ เพื่อที่จะสามารถต่อยอดการเรียนรู้เพิ่มต่อไปได้ อย่างไม่มีวันสิ้นสุด......

บันทึกครั้งที่12.

วันพุธที่ 8 สิงหาคม 2553.

สรุปการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
นำเสนอหน้าชั้นเรียน ทีละกลุ่มรูปแบบของpower point....

จากนั้นร่วมทำกิจกรรมจับกลุ่ม5คนคิดและ ลือกหน่วยการเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยต่อวิทยาศาสตร์....
ให้แยกส่วนลักษณะและองค์ประกอบที่สำคัญๆเพื่อให้เกิดเป็นองค์ความรู้ในการศึกษาส่วนย่อยๆต่อไป


วันเสาร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 11.

วันพุธที่ 1 สิงหาคม 2553.

วันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม 2553.
ทางโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
ได้จัดงานวิทยาศาสตร์หรรษา
นักศึกษาชั้นปีที่3. ได้ลงไปจัดกิจกรรมให้แก่เด็กๆด้วย
ประกอบด้วย 4 ฐาน



ทางเข้างานกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์แสนสนุก














บันทึกครั้งที่10.

วันพุธที่ 25 สิงหาคม 2553.
นำเสนอเกี่ยวกับสื่อทางวิทยาศาสตร์ ทีละกลุ่ม
ประกอบด้วยเรื่อง... มหัศจรรย์ของน้ำ ,ความลับของแสง , อากาศ และ "เสียง"










บันทึกครั้งที่9

เนื่องจาก...
วันอังคารที่17 ถึง วันพุธที่ 18 สิงหาคม 2553.
นักศึกษาชั้นปีที่ 3.และชั้นปีที่ 4.
ไปเข้าค่ายและศึกษาดูงานที่ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี



บันทึกครั้งที่ 8.

ไม่มีการทำการเรียนการสอน

เนื่องจาก...สอบกลางภาคค่ะ !


บันทึกครั้งที่ 7

วันพุธที่ 4 สิงหาคม 2553


ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจาก..

มีกิจกรรมบายศรีของสาขาวิชา การศึกษาปฐมวัย....

















วันอาทิตย์ที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่6.

วันพุธที่ 28 กรกฏาคม 2553

[ไม่ได้มาเรียนเนื่องจากไม่สบายค่ะ! ]

แต่ได้ติดตามการเรียนจากเพื่อน (จันทร์จีรา ภักดิ์เจริญ. ยาย่า)

สรุปการเรียน

อาจารย์ให้ชมวิดีทัศน์ เรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ ซึ่งเป็นเรื่องเกี่ยวกับการทดลองของน้ำ

1.เป็นการทดลองผลไม้ ในการทดลองนี้ให้เด็กๆเป็นผู้สังเกต โดยมีการใช้คำถามกระตุ้นให้เห็นถึงการเก็บกักน้ำไว้บนโหนกของอูฐเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตในทะเลทรายและการเก็บน้ำของต้นกระบองเพชร

2.เป็นการทดลองน้ำแข็ง (น้ำเปลี่ยนสถานะ)เกิดการควบแน่น ซึ่งในการทดลองนี้ยังเป็นการเชื่อมโยง








วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่5.

วันพุธที่ 21 กรกรฎาคม 2553
เริ่มทำการเรียนการสอนตั้งแต่เวลา 9.oo-12.20น.
ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอโครงการ




















กลุ่มที่1.
สมาชิกประกอบด้วย จินห์นิภา(บิว) จินตนา(ทราย) ชญานิศ(ตาต้า) จันทร์จีรา(ยาย่า)และน้ำฝน(ฝน)
โครงการ...กิจกรรมตกแต่งถุงผ้าลดโลกร้อน
การสะท้อนความคิดเห็น
1.เนื้อหาเยอะ ควรทำเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐาน
2.ตัวหนังสือในpowerpoint เล็กจนเกินไป
3.ถ้าหากเพิ่มเติมคลิปวีดีโอในการดำเนินเรื่องจะทำให้เกิดความน่าสนใจมากขึ้น
4.เรื่องของการแสดงบทบาทสมมุติ ควรหาจุดโฟกัสของโคงการคือ เมื่อคนใช้ถุงพลาสิติกจำนวนมาก>ก็จะกำจัดยาก>ดังนั้นจะทำอย่างไรให้เกิดความตระหนักแล้วใช้ถุงผ้าแทนการใช้ถุงพลาสติก
5.เรื่องของงบประมาณ 3ด้าน


















กลุ่มที่2.
สมาชิกประกอบด้วย ชไมรัตน์(ตุ๊กตา) ปิยนุช(แต้ว) ซูนีตา(ตา) นันทนากรณ์(อ้อม) โสรยา(กล้อง)
โครงการ... การนำขวดน้ำมาประดิษฐ์เป็นกระถางปลูกต้นไม้
การสะท้อนความคิดเห็น
1.เนื้อหาข้อมูลดีแต่เยอะจนเกินไป
2.ยังไม่มีแหล่งข้อมูล
3.สื่อ-อุปกรณ์ทีทใช้ในกิจกรรมเล็ก ต้องปรับปรุง
4.การนำเสนอยังไม่มีวิธีเชื่อมโยงในกิจกรรม



















ลุ่มที่3.
สมาชิกประกอบด้วย...สุพัตรา(อ๋า) ธัญญาพร(ปุ้ย) กาญจนา(แอร์) ศุภาพร(บี)
โครงการ...กิจกรรมการแยกขยะให้ถูกถัง
การสะท้อนความคิดเห็น
1.
2.
3.
4.
5.











กลุ่มที่4.
สมาชิกประกอบด้วย.... เพ็ญศรี(แป้ง) กมลชนก(ปลอย) ศิริขวัญ(เก๋) อินทิรา(อาย) ปวีณา(อ้อ)

โครงการ...เรียงภาพการตัดไม้ทำลายป่า
การสะท้อนความคิดเห็น
1.
2.
3.
4.
5.
















กลุ่มที่5.
สมาชิกประกอบด้วย... สุพัตรา(เปิ้ล) อัญชลี(เก็ตตี้) จันจิรา(มด) พัชฤทธิ์(องุ่น)
โครงการ...คลายโลกร้อนด้วยมือน้อย
การสะท้อนความคิดเห็น
1.
2.
3.
4.
5.

การบ้าน.
1.หาเศษวัสดุหรือขยะที่ไม่ใช้แล้ว นำมาสร้างหรือประดิษฐ์เป็นสื่อทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (งานกลุ่ม 1.ชิ้น)
2.คิดกิจกรรมที่แปลกใหม่ สอดคล้องกับโครงการของกลุ่มตนเอง(งานกลุ่ม)
3.หาสาเหตุและวิธีการช่วยลดภาวะโลกร้อน พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มา(งานเดี่ยว ตอบคำถามลงในบล็อก)


วันอังคารที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 4.

วันพุธที่ 14 กรกฎาคม 2553.

แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอโครงการ
ได้แก่

กลุ่มที่1. ซูนีตา โครงการการประดิษฐ์กระถางต้นไม้สุดประหยัดจากขวดพลาสติก
กลุ่มที่2. น้ำฝน โครงการแม่ลูกระบายสีถุงผ้าช่วยลดภาวะโลกร้อน
กลุ่มที่3. เพ็ญศรี โครงการลดภาวะโลกร้อนของเด็กปฐมวัย
กลุ่มที่4. ศุภาพร โครงการถังขยะอัจฉริยะ
กลุ่มที่5. สุพัตรา โครงการประดิษฐ์ตระกร้าจากกล่องนม

การบ้าน.
1.นำโครงการไปปรับปรุง
2. ให้นักศึกษาคิดและประดิษฐ์ชิ้นงาน "ศิลปะสอนวิทยาศาสตร์" มาเสนอคนละ1ชิ้นส่งในสัปดาห์ถัดไป
3.นัดหมายการเรียนในครั้งต่อไปเวลา 9.00 น.






วันจันทร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่3.

วันพุธที่7 กรกฎาคม 2553.
แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอชื่อกิจกรรมลดภาวะโลกร้อน...
ได้แก่

-กลุ่มซูนีตา(ตา) การนำขวดน้ำพลาสติกกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยการตัดขวดน้ำออกเป็นครึ่งท่อนแลนำส่วนล่างมาตกแต่งให้สวยงามเพื่อใช้เป็นกระถางในการปลูกต้นไม้คนละ1ต้น ของเด็กอายุ3ขวบ
-กลุ่มน้ำฝน(ฝน) ออกมานำเสนอเรื่องการตกแต่งถุงผ้าของเด็กอายุ4ขวบ.เพื่อนำไปใช้ใส่แทนการใช้ถุงพลาสติก
-กลุ่มสุพัตรา(เปิ้ล) การนำซองหรือถุงขนมที่เหลือใช้ นำกลับมารีไซเคิลให้เกิดเป็นชุดที่สวยงามและจัดให้มีการแข่งกันประกวดชุดแฟนซีของเด็กวัย4ขวบ.
-กลุ่มศุภาพร(บี) การแยกขยะโดยนำถังขยะมาติดป้ายบอกเพื่อคุณลักษณะของประเภทของขยะให้เด็กๆได้รู้จักทิ้งขยะให้ถูกประเภท ถือเป็นการปลูกฝังให้รักษาความสะอาดพร้อมทั้งยังสอนให้รู้จักนำขยะมาใช้ประโยชน์ต่อไปได้อีกด้วย.

-กลุ่มเพ็ญศรี(แป้ง) การเรียงภาพ ป่าไม้ที่สมบูรณ์จากนั้นถูกคนมาตัดไม้ทำลายป่า เป็นการปลูกฝังให้เด็กรู้จักการรักต้นไม้ของเด็กวัย5ขวบ.

จากนั้นอาจารย์สรุปและแสดงความคิดเห็นของแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งเสนอและให้นำไปปรับปรุงแก้ไขเพื่อนำมาเสนอในครั้งต่อไป

การบ้าน.
เมื่อทุกกลุ่มได้หัวข้อเรื่องในการจัดกิจกรรมให้กับเด็กแล้ว จากนั้นให้นำหัวเรื่องกลับไปคิดและวางแผนเป็นรูปแบบโครงการที่จะจัดกิจกรรมให้เด็กได้เกิดความตะหนักในการสอนวิทยาศาสตร์ผ่านโคงการ แล้วนำมาเสนอหน้าชั้นเรียนในสัปดาห์ถัดไป

วันเสาร์ที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

บันทึกครั้งที่ 2.



หมายเหตุ : บันทึกครั้งที่1.
วันพุธที่23 มิถุนายน 2553
1.ขออนุญาติไปปฏิบัติกิจกรรมรับน้องของมหาวิทยาลัย จึงไม่ได้ทำการเรียนการสอนค่ะ
2.สร้างบล็อก เพื่อเป็นแฟ้มสะสมผลงานในรายวิชา.



วันพุธที่ 30 กรกฎาคม 2553
เรื่อง...การปฐมนิเทศ!!
ในรายวิชา... การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ประจำวิชา...อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

ข้อตกลง
1. เรื่องการมีวินัย-ความรับผิดชอบในตนเอง และการเข้าเรียนให้ตรงตามเวลาที่ได้ตงลงร่วมกัน ถ้าหากขาดเรียนสามารถตามงานใส่ลงบล็อกได้...
2. เรื่องการแต่งกายให้ถูกระเบียบตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย รวมไปถึง ทรงผม รองเท้า เสื้อไม่รัดจนเกินไป...
3. เรื่องการบันทึกเรื่องเรียนและงานต่างๆลงblogของตนเอง


เนื้อหาที่เรียนในวันนี้...
อาจารย์จ๋า สอนในรูปแบบของ Powerpoint.
เด็กปฐมวัยต่อการเรียนรู้เรื่องวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิงรอบตัวและตัวตนของตนเอง ความพยายามเช่นนี้ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่กำเนิด ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นจากธรรมชาติของเด็ก (พฤติกรรม)ที่มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตต่างๆที่พวกเขาเจอและบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่ผู้ใหญ่จะให้คำตอบ...

การทำความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวและตัวตนของตนเองโดยการสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆที่พวกเขาเจอช่วยเชื่อมโยงเซลล์ของสมองของเด็ก เป็นการเตรียมเด็กให้สามารถเรียนรู้ได้มากขึ้นในวัยที่สูงขึ้น.

ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจธรรมชาติของเด็ก...
-ไม่จัดประสบการณ์ การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม.
-ปิดกั้นโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการไม่ให้ความสนใจกับคำถาม
-ไม่ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
การทบทวนบทบาท...
-เปิดโอกาสทางการเรียนรู้ของพวกเขาโดยการให้ความสนใจกับคำถาม
-จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่จะส่งเสริมและต่อยอดทักษะและแนวคิดที่ถูกต้องให้กับเด็กอย่างเหมาะสม
-ให้ความสนใจกับการค้นพบแบบเด็กๆ
-ครูและผู้ปกครองต้องยอมรับในเรื่องจินตนาการที่มีสูงอยู่ในเด็กวัยนี้
-คนที่เป็นครูจะต้องแม่นยำในพันาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามรถของเด็ก

จากนั้นได้จับกลุ่ม 5คน มีสมาชิกดังนี้...
-นางสาว ชญานิศ พรมจรรย์
-นางสาว จันทร์จีรา ภักดิ์เจริญ
-นางสาวน้ำฝน ฉันท์ไทย
-นางสาวจินต์นิภา วรรณจาโร
-นางสาวจินตนา จีนปฏิพัทธิ์
ดูวีดีโอเรื่องภาวะโลกร้อน
สรุปสิ่งที่ได้รับในวันนี้...
ได้เข้าใจถึงเนื้อหาที่จะเรียนต่อไปในรายวิชานี้ และเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่จะจัดให้กับเด็กปฐมวัยนั้นต้องไม่ยากจนเกินไป ในฐานะครูต้องเชื่อมโยงวิทยาสตร์กับชีวิตประจำวันเพื่อให้เด็กได้จดจำและนำไปใช้ได้จริง!

การบ้าน!!
จากการแบ่งกลุ่ม5คน จำนวน4กลุ่ม
จับฉลากให้ได้หัวข้อเรื่อง... หากิจกรรมเกี่ยวกับการลดภาวะโลกร้อนของเด็ก 4 ขวบ
เสนอในสัปดาห์ถัดไป...



ขณะนี้เวลา..!! อย่ามัวดูเพลินจนลืมเวลากันนะค้ะ,,, :)